Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 176,634
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,051
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,364
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,323
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,836
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,948
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,918
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,183
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,976
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,747
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,688
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,890
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,209
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,636
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,076
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,964
17 Industrial Provision co., ltd 39,716
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,711
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,618
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,957
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,896
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,250
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,662
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,378
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,892
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,887
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,260
28 AVERA CO., LTD. 22,953
29 เลิศบุศย์ 21,976
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,744
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,640
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,246
33 แมชชีนเทค 20,240
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,497
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,461
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,210
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,885
38 SAMWHA THAILAND 18,658
39 วอยก้า จำกัด 18,314
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,889
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,736
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,663
43 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,651
44 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,586
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,512
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,508
47 Systems integrator 17,077
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,026
49 Advanced Technology Equipment 16,841
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,811
31/05/2562 07:01 น. , อ่าน 7,981 ครั้ง
Bookmark and Share
ทำไม Emergency stop ต้องใช้ NC
โดย : Admin

#ทำไมปุ่มหยุดฉุกเฉิน(Emergency stop) ต้องใช้เป็นหน้า Contact NC ?



การออกแบบระบบควบคุมเครื่องจักร สิ่งที่ต้องเป็นอันดับแรกคือการออกแบบระบบความปลอดภัยของเครื่องจักร วันนี้เราจะมาพูดถึงเรื่องปุ่มหยุดฉุกเฉิน E-Stop หรือ Emergency โดยปกติแล้วปุ่มหยุดฉุกเฉินนี้เมื่อกดแล้วจะหยุดการจ่ายระบบไฟไปอุปกรณ์ ทำให้อุปกรณ์หยุดทำงานเพราะไม่มีไฟเลี้ยง ดังนั้นปุ่มหยุดฉุกเฉินควรจะใช้หน้า Contact ที่เป็น NC (Normal close) เท่านั้น


การใช้ปุ่มหยุดฉุกเฉินสำหรับหยุดเครื่องจักรในกรณีฉุกเฉินนั้น ควรจะตัดการทำงานของ Software และ Hardware
จากรูปใช้ปุ่มหยุดฉุกเฉิน 2 หน้า Contact เป็น NC (Normal Close) ทั้งคู่ Contact ที่ 1 ใช้สำหรับตัดสัญญาณ Input เข้า PLC Contact ที่ 2 ใช้สำหรับตัดสัญญาณ COM Output ของ PLC

Contact ที่ 1 ตัดการทำงาน Software เราจะใช้ Input X0 ของ PLC ในการทำงานของโปรแกรม ถ้าสัญญาณ X0 มีสถานะเป็น 1 โปรแกรม PLC ก็จะทำงาน แต่ถ้าสถานะ X0 เป็น 0 โปรแกรมก็จะไม่ทำงาน หมายความว่าอาจจะมีการกดปุ่มฉุกเฉินหรืออาจจะมีสายไฟขาด

***เหตุผลที่ไม่ใช้หน้า Contac No เพราะว่าเมื่อสายไฟขาด เราจะไม่สามารถรู้ได้เลยว่าสายไฟขาด เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินเครื่องจะไม่หยุดการทำงาน***


Contact ที่ 2 ตัดการทำงาน Hardware เราจะต่อ COM Output ของ PLC ผ่านปุ่มหยุดฉุกเฉิน เมื่อกดแล้วจะตัดไฟที่ไปเลี้ยง COM Output ของ PLC ทำให้อุปกรณ์ที่ต่อกับ Y0 ไม่ทำงาน

***เป็นตัดการทำงาน Hardware เพราะบางครั้ง Software อาจจะมีการทำงานผิดพลาดได้
COM4 COM 5 จะต่อกับไฟ 24 V โดยตรง ใช้สำหรับแจ้งสถานะของเครื่องจักร

 

 

CR:  https://www.facebook.com/groups/1921965321456431/?epa=SEARCH_BOX

========================================================